เมืองแห่งอนาคตสร้างได้ด้วย “มาตรฐาน”

สิ่งที่เมืองสมัยใหม่ต้องทำให้สำเร็จเพื่อให้มีความสามารถในการแข่งขันและการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของพลเมือง ได้แก่ น้ำใช้ที่เพียงพอ การเข้าถึงน้ำที่สะอาดทั่วโลก ความสามารถในการเดินทางอย่างมีประสิทธิภาพ และความรู้สึกของความมั่นคงและปลอดภัย

ISO 29993 สำหรับผู้ให้บริการด้านการเรียนรู้

ISO 29993 Learning services outside formal education – Service requirements เป็นข้อกำหนดที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อปรับปรุงในด้านความโปร่งใสและความเชื่อถือในตลาดการศึกษาด้วยการจัดเตรียมข้อกำหนดขั้นต่ำสำหรับระดับคุณภาพบริการด้านการเรียนรู้ที่เห็นพ้องต้องกันในระดับระหว่างประเทศ

แนะนำ ISO 32000 มาตรฐานเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

Adobe’s PDF version 1.7 ได้มีการนำมาพัฒนาเป็นมาตรฐาน ISO 32000 เมื่อปี 2551 (ค.ศ.2008) (ISO 32000 -Document management -Portable document format) นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา สมาชิกของกลุ่มงานของคณะทำงานวิชาการของไอเอสโอ ISO/TC 171/SC 2/WG 8 ซึ่งเป็นกลุ่มงานที่รับผิดชอบด้านมาตรฐานก็ได้เริ่มพัฒนาข้อกำหนดซึ่งเพิ่งตีพิมพ์เผยแพร่ข้อกำหนดสำหรับรูปแบบ PDF 2.0 ไปเมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา

องค์กรยุคใหม่ ใส่ใจ ISO 26000 ตอนที่ 2

มาร์คแอนด์สเปนเซอร์เป็นอีกบริษัทหนึ่งที่พิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นผู้บุกเบิกที่มีความโดดเด่นในด้านความสามารถในการดำเนินงานอย่างยั่งยืนด้วยการนำแผน A ไปใช้เมื่อปี 2550 (ค.ศ.2007) เพื่อช่วยปกป้องโลกด้วยการใช้ทรัพยากรอย่างมีความรับผิดชอบ ลดของเสียและช่วยเหลือชุมชน แต่ก็ยังไม่สามารถบรรลุเป้าหมายเหล่านั้นได้หากไม่ได้รับการสนับสนุนจากซัพพลายเออร์ ดังนั้น เมื่อปี 2556 (ค.ศ.2013) บริษัทจึงหันมาใช้ ISO 26000 เป็นแนวทางในการส่งเสริมวิธีปฏิบัติที่เป็นธรรมตลอดทั้ง
ซัพพลายเชน

องค์กรยุคใหม่ ใส่ใจ ISO 26000 ตอนที่ 1

ทั้งนี้ โดรนเชิงพาณิชย์ที่กำลังมีการศึกษานี้ทำการบินได้ช้า จึงเสียเวลาในการเดินทางซึ่งอเมซอนกำลังพัฒนาอยู่ โดยวางแผนให้โดรนสามารถบินในระดับสูงกว่าเดิมและบินได้เร็วประมาณ 95 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รวมทั้งพยายามหาวิธีทำให้เสียงของโดรนเบาลงด้วย

มาตรฐานการจัดซื้ออย่างยั่งยืน

ISO 20400: 2017 แนวทางการจัดซื้อที่คำนึงถึงความยั่งยืน (Sustainable procurement – Guidance) เป็นมาตรฐานสากลฉบับแรกที่เป็นมาตรฐานด้านการจัดซื้อซึ่งมีเป้าหมายในการช่วยให้องค์กรสามารถพัฒนาและนำนโยบายและวิธีปฏิบัติด้านการจัดซื้อย่างยั่งยืนไปใช้งาน

ตอบโจทย์ความท้าทายภาคเกษตรกรรมด้วยฟาร์มอัจฉริยะ

ดร.ฟรังซัว โคลิเยร์ ซึ่งเป็นผู้นำของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่ดูแลรับผิดชอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของไอเอสโอในคณะกรรมการวิชาการ ISO/IEC JTC1 (คณะกรรมการวิชาการร่วม)และทำงานด้านนี้มานานนับปีแล้วได้กล่าวว่าตอนนี้ข้อจำกัดของการปฏิวัติสีเขียวได้มาถึงสังคมโลกในศตวรรษที่ 20 แล้ว โลกเราจำเป็นต้องค้นหาหนทางเพื่อทำให้ประชากรโลกมีวิถีชีวิตที่มีความยั่งยืน