ไอเอสโอออกมาตรฐานใหม่ช่วยจัดการทรัพย์สินทางปัญญา

มาตรฐาน ISO 56005, Innovation management – Tools and methods for intellectual property management – Guidance เป็นมาตรฐานที่ให้แนวทางและกลยุทธ์ในการช่วยให้องค์กรปกป้องแนวคิดที่ดีที่สุดขององค์กร และใช้นวัตกรรมให้เกิดประโยชน์สูงสุด มาตรฐานนี้เน้นในเรื่องกรอบการทำงานของการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา เครื่องมือการบริหารความเสี่ยง และวิธีการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น

ไอเอสโอห่วงใยความปลอดภัยคนทำงานในภาวะโรคระบาด

ในขณะที่มาตรฐานสากลโดยเฉลี่ยใช้เวลาในการพัฒนาถึง 3 ปี แต่เอกสารมาตรฐานไอเอสโอที่เรียกว่าข้อกำหนดที่สาธารณชนสามารถเข้าถึงได้ (ISO/PAS – Publicly Available Specification) นั้นใช้เวลาพัฒนาในช่วงสั้น ๆ เท่านั้นดังเช่น เอกสาร ISO/PAS 45005, Occupational health and safety management – General guidelines for safe working during the COVID-19 pandemic ซึ่งใช้เวลาพัฒนาเพียง 3 เดือนเท่านั้นเพื่อตอบสนองสถานการณ์โรคระบาด COVID-19 และความจำเป็นเร่งด่วนซึ่งต้องใช้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันเท่านั้น

“วันดินโลก” เรียนรู้ปฐพีจากศาสตร์พระราชา

“รักษ์ปฐพี คืนชีวีที่หลากหลายให้ผืนดิน” (Keep Soil Alive, Protect Soil Biodiversity) เป็นหัวข้อหลักของการรณรงค์ “วันดินโลก” ในปี 2563 ซึ่งทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยได้จัดกิจกรรมเพื่อรณรงค์และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับดินและการจัดการทรัพยากรดินเพื่อประโยชน์ของมนุษยชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม

สานฝันนวัตกรให้กลายเป็น “นวัตกรรม” ด้วย ISO 56002 ตอนที่ 1

อันที่จริงแล้ว ธุรกิจหรืองค์กรทุกประเภทสามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลด้วยการพิจารณาถึงกิจกรรมและองค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องแล้วจัดการอย่างเป็นระบบ ซึ่งไอเอสโอได้พัฒนามาตรฐาน ISO 56002 ที่ทุกองค์กรสามารถนำไปใช้ได้ทันทีเพื่อให้เกิดนวัตกรรมได้อย่างสมบูรณ์แบบและใช้เวลาไม่นานนักเนื่องจากมาตรฐานนี้ครอบคลุมเรื่องที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม

สานฝันนวัตกรให้กลายเป็น “นวัตกรรม” ด้วย ISO 56002 ตอนที่ 2

โซนี่โมบายล์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโซนี่ คอร์ปอเรชั่น บริษัทผู้ผลิตหม้อหุงข้าวไฟฟ้ารายแรกของโลกเมื่อปี 2501 (ค.ศ.1958) ได้ให้ความสนใจในเรื่องของนวัตกรรมในด้านวิศวกรรมศาสตร์และออกแบบเสียง วิดีโอ เกม และการสื่อสารเพื่อให้บริษัทยังคงมีผลิตภัณฑ์ล้ำยุคออกมาจำหน่ายอยู่เสมอ โซนี่เชื่อมั่นว่านวัตกรรมเป็นสิ่งที่จะทำให้ธุรกิจประสบความสำเร็จในระยะยาว และสามารถอยู่รอดได้อย่างยั่งยืนในที่สุด

สานฝันนวัตกรให้กลายเป็น “นวัตกรรม” ด้วย ISO 56002 ตอนที่ 3

โดยทั่วไป ธรรมชาติของงานมักมีวิวัฒนาการและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกับเทคโนโลยี และในการทำงานจะต้องมีการจัดการอย่างซับซ้อนขึ้นกับกลุ่มคนที่มีความสามารถสูง แต่เมื่อคนคุ้นเคยกับการทำงานในโครงการที่แตกต่างกัน เราจะเห็นว่าความคิดสร้างสรรค์ก็เติบโตขึ้นเช่นกัน และก้าวไปพร้อมกับความเข้าใจที่ลึกซึ้งและกว้างขวางขึ้นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และผู้ใช้ผลิตภัณฑ์อันเป็นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องซึ่งเปรียบเสมือนวงล้อที่หมุนไปข้างหน้าเพื่อสร้างสรรค์สิ่งที่ดีขึ้น

ไอเอสโอปรับปรุงมาตรฐานรหัสยืนยันตัวตนทางกฏหมาย

อเล็กซานเดร การ์ริโด ผู้นำโครงการของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่พัฒนามาตรฐาน ISO 21102 ระบุว่าคุณสมบัติสำหรับความรู้ความสามารถของผู้นำในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวนั้นอาจนำไปสู่การเกิดอันตรายได้ถ้าไม่มีความเข้าใจเป็นอย่างดี เนื่องจากกิจกรรมที่แตกต่างกันจำเป็นต้องใช้ความรู้ความสามารถที่แตกต่างกัน แต่ก็มีคุณสมบัติหลายอย่างที่เป็นคุณสมบัติร่วมกัน เช่น การบริหารความเสี่ยง การตอบสนองกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน พฤติกรรมและจริยธรรมแบบมืออาชีพ เป็นต้น

คู่มือความปลอดภัยและอาชีวอนามัยฉบับใหม่สำหรับ SMEs

มาตรฐาน ISO 45001, Occupational health and safety management systems – Requirements with guidance for use มีจุดมุ่งหมายเพื่อลดสถิติในเรื่องโรคภัยหรืออุบัติเหตุจากการทำงานโดยมีผู้เชี่ยวชาญจากทั่วโลกมาจัดทำกรอบร่วมกัน เพื่อลดความเสี่ยงในสถานที่ทำงาน เสริมสร้างสุขภาพ เพิ่มความปลอดภัย และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีในที่ทำงาน

แนะนำรัฐและชุมชนใช้ ISO/TS 14092 สู้ภาวะโลกร้อน

มาตรฐาน ISO/TS 14092 ยอมรับว่าผลกระทบซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีความแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละภูมิภาคและมีผลกระทบโดยตรงต่อรัฐบาลท้องถิ่น รวมถึงบริการสาธารณะต่างๆ ตลอดจนความมั่นคงปลอดภัยของรัฐบาล ดังนั้น เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของท้องถิ่นและรัฐบาล ไอเอสโอจึงได้พัฒนามาตรฐานดังกล่าวขึ้นมาเพื่อช่วยให้พวกเขาสามารถปรับตัวให้เข้าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยมีพื้นฐานอยู่บนเรื่องของผลกระทบต่อระบบนิเวศ สังคม และเศรษฐกิจ และการประเมินความเสี่ยง

แนวทางการจัดการน้ำขององค์กรตามแนวทางสากล เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เพื่อเป็นการสนับสนุนแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน องค์กรควรพิจารณาขยายขอบเขตความรับผิดชอบ โดยพิจารณาให้ครอบคลุมการลดผลกระทบจากการดำเนินงานตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า โดยใช้แนวทางการประเมินรอยเท้าน้ำ (Water Footprint) หรือนำหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ซี่งเป็นกรอบแนวทางการใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด มาประยุกต์ใช้ในรูปแบบการจัดการน้ำแบบหมุนเวียน (Circular water management)