จัดซื้ออย่างยั่งยืนด้วยมาตรฐาน ISO 20400

สำหรับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนข้อที่ 12 เรื่องการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน (Responsible Consumption and Production) นั้น การบรรลุเป้าหมายนี้จำเป็นต้องมีกรอบการดำเนินงานระดับประเทศสำหรับการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืนที่รวมเอาแผนงานระดับภาคส่วนและระดับประเทศ การปฏิบัติทางธุรกิจที่ยั่งยืน และพฤติกรรมผู้บริโภค ให้เข้ากับบรรทัดฐานระดับสากลในเรื่องของการบริหารจัดการสารเคมีอันตรายและของเสีย

คำถามเพื่อการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ตอนที่ 2

มีคำถามสำหรับบริษัทและนักลงทุนว่าจะสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goal: SDG) ภายในปี 2573 (ค.ศ.2030) ทั้ง 17 ข้อได้อย่างไร และอะไรคือสิ่งที่ใกล้เคียงที่สุดกับกลยุทธ์ขององค์กรในเรื่องดังกล่าว

คำถามเพื่อการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ตอนที่ 1

มีคำถามสำหรับบริษัทและนักลงทุนว่าจะสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goal: SDG) ภายในปี 2573 (ค.ศ.2030) ทั้ง 17 ข้อได้อย่างไร และอะไรคือสิ่งที่ใกล้เคียงที่สุดกับกลยุทธ์ขององค์กรในเรื่องดังกล่าว

การมาตรฐานกับวันอนุรักษ์น้ำโลก

วันอนุรักษ์น้ำโลก (World Water Day) ตรงกับวันที่ 22 มีนาคมของทุกปี เนื่องในโอกาสนี้ องค์การสหประชาชาติจึงได้รณรงค์ให้วันอนุรักษ์น้ำโลกให้ความสำคัญกับหัวข้อ ธรรมชาติเพื่อน้ำ (Nature for Water) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสำรวจแนวทางแก้ไขปัญหาความท้าทายในเรื่องน้ำที่โลกของเรากำลังเผชิญในศตวรรษที่ 21

ISO 52000 เพื่อสมรรถนะด้านพลังงานของอาคาร

จากข้อมูลขององค์กรพลังงานระหว่างประเทศ (International Energy Agency: IEA) พบว่าการใช้พลังงานในอาคารจำเป็นจะต้องลดลงถึง 50% หากเราต้องการลดค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิลงให้ได้ 2 องศาภายในปี 2050 ปัจจุบัน โลกของเรามีแนวทางการจำกัดอุณหภูมิโลกให้เป็นไปตามเป้าหมายนี้ด้วยการทำให้อาคารสามารถใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยนำชุดมาตรฐาน ISO 52000 ไปใช้งาน

ISO 50001 เครื่องมือหลักเพื่อปฏิบัติการลดภาวะโลกร้อน

สำหรับมาตรฐาน ISO 50001: 2011 (ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ.2554) เป็นมาตรฐานที่ทำให้องค์กรสามารถจัดกับพลังงานโดยมีแนวทางที่รัดกุมในการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงานอย่างต่อเนื่องรวมทั้งความสามารถในการดำเนินงานอย่างยั่งยืน ซึ่งทำให้สร้างคุณค่าทั้งในเชิงของวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดและปฏิบัติการด้านพลังงานสะอาด ซึ่งมีองค์กรเกือบ 12,000 องค์กรทั่วโลกที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐานนี้นับถึงปลายปี 2558 และมีสถิติสูงขึ้นกว่าปีก่อนหน้านั้นถึง 77%

มาตรฐานไอเอสโอช่วยส่งเสริม COP22 ให้บรรลุเป้าหมาย New ISO handbook for ISO 21101

การประชุมอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสมัยที่ 22 (COP22: Conference of Parties) ระหว่างวันที่ 7-18 พฤศจิกายน 2559 ที่เมืองมาราเกซ ประเทศโมรอคโค เป็นการประชุมเจรจาระหว่างผู้นำจากประเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นบริษัท องค์กร นักลงทุนหรือรัฐบาลทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ เพื่อที่จะนำข้อตกลงปารีสไปปฏิบัติตามที่ตกลงกันไว้ในการประชุม COP21 เมื่อเดือนธันวาคม 2558