ชีวิตสวยงามด้วย “มาตรฐานไอเอสโอ” ที่ทุกคนเข้าถึงได้

ด้วยความร่วมมือระหว่างไออีซี ไอทียูและไอเอสโอ จึงมีการพัฒนามาตรฐาน ISO/IEC Guide 71, Guide for addressing accessibility in standards ขึ้นมาซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการช่วยให้ผู้พัฒนามาตรฐานมีการพิจารณาถึงประเด็นด้านการเข้าถึง (accessibility) ของคนทุกประเภทเมื่อทำการพัฒนาหรือทบทวนมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ไม่เคยมีการพิจารณาในเรื่องนี้มาก่อน

โลกกำลังก้าวสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ด้วย “การเงินที่ยั่งยืน”

การปรับตัวให้สามารถตอบสนองการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกนั้น จำเป็นต้องมีการลงทุนที่มีนัยสำคัญพอสมควร กล่าวคือ ภายในปี 2573 (ค.ศ.2030) ควรมีการลงทุนประมาณ 90 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อโครงสร้างพื้นฐานที่จะรองรับการแก้ไขปัญหาดังกล่าว แม้ว่าจะมีการลงทุนโครงการสีเขียวและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับความยั่งยืนไปแล้ว แต่โลกของเรายังจำเป็นต้องมีการลงทุนเพื่อความยั่งยืนเพิ่มขึ้นอีกเพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้

ไอเอสโอปรับปรุงชุดมาตรฐาน ISO 80000

เรื่องราวของ “การวัด” มีความเป็นมาที่ยาวนานในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ กล่าวกันว่ามนุษย์รู้จัก “การวัด” ก่อน “การเขียน” เรารู้จักนับเลข และการใช้ดวงอาทิตย์บอกเวลา เรารู้จักนำวัตถุที่มีอยู่บนโลกนี้มาวัดความยาวและชั่งน้ำหนัก ต่อมา มนุษย์เราต้องการการวัดที่ดีขึ้น ศาสตร์ของการวัดจึงมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นไปพร้อมกับสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ

ISO 38200 ช่วยสอบกลับแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์จากไม้

ISO 37101 เป็นส่วนหนึ่งของชุดมาตรฐานที่อุทิศให้กับเมืองที่ต้องการพิสูจน์อนาคตที่ต้องการความยั่งยืนและยืดหยุ่น ซึ่งมาตรฐานนี้มีส่วนทำให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ ในข้อที่ 11 คือเมืองและชุมชนที่มีความยั่งยืน ซึ่งต้องการทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของ “วันสากลแห่งเมือง” ในปีนี้ด้วย

ก้าวสู่อนาคตของเมืองที่ยั่งยืน

ISO 37101 เป็นส่วนหนึ่งของชุดมาตรฐานที่อุทิศให้กับเมืองที่ต้องการพิสูจน์อนาคตที่ต้องการความยั่งยืนและยืดหยุ่น ซึ่งมาตรฐานนี้มีส่วนทำให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ ในข้อที่ 11 คือเมืองและชุมชนที่มีความยั่งยืน ซึ่งต้องการทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายของ “วันสากลแห่งเมือง” ในปีนี้ด้วย

มาตรฐานพร้อมก้าวไปกับโลกของเอไอ

จากองค์กรความร่วมมือข้อมูลสากล (International Data Corporation: IDC) ระบุว่าภายในปีหน้า โครงการที่เกี่ยวข้องกับดิจิตอลทรานสฟอร์เมชั่นจะทำให้เกิดธุรกิจเอไอประเภทต่างๆ 40% และภายในปี 2564 (ค.ศ.2021) 75% ของแอพพลิเคชั่นธุรกิจจะมีการนำเอไอไปใช้โดยมีค่าใช้จ่ายสูงขึ้นประมาณ 52.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ

แบรนด์โรงแรม “ฮิลตัน” พร้อมก้าวสู่ SDGs

สำหรับไอเอสโอ มีมาตรฐานสากลในภาคส่วนการผลิตอาหารมากกว่า 1600 มาตรฐานที่ช่วยให้สามารถยุติความหิวโหยของโลกได้ด้วยการสร้างความมั่นใจในผลิตภัณฑ์อาหาร ปรับปรุงวิธีการด้านเกษตรกรรม และส่งเสริมการจัดซื้ออย่างมีจริยธรรมและยั่งยืน ซึ่งรวมถึงมาตรฐานอีกประมาณ 850 มาตรฐานจากคณะกรรมการวิชาการ ISO/TC 34 – Food products ซึ่งครอบคลุมทุกเรือ่งนับตั้งแต่สวัสดิภาพสัตว์ไปจนถึงผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ธัญพืชและนม และการทดสอบส่วนผสม เป็นต้น

ไอเอสโอกับวันอาหารโลก

สำหรับไอเอสโอ มีมาตรฐานสากลในภาคส่วนการผลิตอาหารมากกว่า 1600 มาตรฐานที่ช่วยให้สามารถยุติความหิวโหยของโลกได้ด้วยการสร้างความมั่นใจในผลิตภัณฑ์อาหาร ปรับปรุงวิธีการด้านเกษตรกรรม และส่งเสริมการจัดซื้ออย่างมีจริยธรรมและยั่งยืน ซึ่งรวมถึงมาตรฐานอีกประมาณ 850 มาตรฐานจากคณะกรรมการวิชาการ ISO/TC 34 – Food products ซึ่งครอบคลุมทุกเรือ่งนับตั้งแต่สวัสดิภาพสัตว์ไปจนถึงผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ธัญพืชและนม และการทดสอบส่วนผสม เป็นต้น

มาตรฐานเพื่อการท่องเที่ยวรักษ์โลก

จากข้อมูลขององค์การการท่องเที่ยวโลก (World Tourism Organization) แห่งองค์การสหประชาชาติ ปีที่แล้ว นักท่องเที่ยว 1.2 พันล้านคนได้เดินทางท่องเที่ยวไปทั่วโลก ซึ่งองค์การสหประชาชาติได้รับผิดชอบในการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และคาดว่าจะมีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นสูงถึง 1.8 พันล้านคนภายในปี 2573 (ค.ศ.2030)

จัดซื้ออย่างยั่งยืนด้วยมาตรฐาน ISO 20400

สำหรับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนข้อที่ 12 เรื่องการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน (Responsible Consumption and Production) นั้น การบรรลุเป้าหมายนี้จำเป็นต้องมีกรอบการดำเนินงานระดับประเทศสำหรับการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืนที่รวมเอาแผนงานระดับภาคส่วนและระดับประเทศ การปฏิบัติทางธุรกิจที่ยั่งยืน และพฤติกรรมผู้บริโภค ให้เข้ากับบรรทัดฐานระดับสากลในเรื่องของการบริหารจัดการสารเคมีอันตรายและของเสีย